พฤติกรรมและเทคนิคการสื่อสารสุนัข
การเลี้ยงสุนัขเพื่อเป็นเพื่อน เฝ้าบ้าน ใช้งาน เกมกีฬา รวมถึงเพาะพันธุ์ขาย
Home / การฝึกสุนัข

การเลี้ยงสุนัขเพื่อเป็นเพื่อน
สุนัขเป์นสัตว์ที่คุ้นเคยกบมนุษย์มาก เนื่องจากมนุษย์นำสุนัขมาเลี่ยงเมื่อประมาณ 20,000 ปี มาแล้ว ในสมัยโบราณสุนัขถูกนำมาเลี้ยงเพื่อใช้ในการล่าสัตว์ เฝ้าฝูงสัตว์หรือเฝ้าที่อยู่อาศัยจนถึงปัจจุบันสุนัขได้มีความใกล้ชิดกับคนมากขึ้น โดยมีการเลี้ยงสุนัขเพื่อเป็นเพื่อน เฝ้าบ้าน ใช้งาน เกมกีฬา รวมถึงเพาะพันธุ์ขาย และเมื่อสุนัขเจ็บป่วยก็มีการรักษา เป็นต้น ดังนั้นการเข้าใจถึง พฤติกรรมและการบังคับสุนัขที่ถูกต้องนั้นจึงเป็นสิ่งจำเป็นต่อผู้เลี้ยงและผู้ที่เกี่ยวข้องกับสุนัขเป็นอย่างยิ่ง และต้องมีการ สื่อสารสุนัข ที่ดี
ข้อมูลทั่วไปของสุนัข
เป็นข้อบ่งชี้ที่แสดงถึงลักษณะทัวไปของสุนัข ซึ่งประกอบด้วย องค์ประกอบในส่วนศีรษะและองค์ประกอบในส่วนลำตัว ดังนี้
ศีรษะ สุนัข
ตา : ดวงตาของสุนัขจะประกอบไปด้วยหนังตาสามส่วน คือ หนังตาบน หนังตาล่างและ หนังตาที่สามที่อยู่ตรงมุมด้านในของดวงตาซี่งหนังตานี้ไม่พบในมนุษย์จะทำหน้าที่เหมือน “ที่ปด นั้าฝน’,ในการกำจัดฝูนหรือเศษดินออกจากดวงตา
หู : มีหลายลักษณะ ตั้งแต่หูพับไปด้านหน้า หูย้อยไปจนหู พับไปด้านหลัง แต่ “หูตั้ง’,(พบ ในสุนัขพันธุบางแล้ว ไทยหลังอาน เยอรมันเชพเพิร์ด โดเบอร์แมน ไซบีเรืยนฮัสกี้บิทหูล เป็นต้น ) ถือเป็นรูปแบบมาตรฐานตามลักษณะของสุนัขโบราณและสามารถรับเสียงได้ดีกว่าสุนัขที่หูพับ
จมูก : จมูกมีนั้งจมูกยาวและจมูกสั้นยิ่งสุนัขมีจมูกยาวมากเท่าไรยิ่งดีต่อการดมกสิ่นเท่านั้นความเปียกชื้นของจมูกจะช่วยเพี่มประสิทธิภาพในการแยกโมเลกุลของกสิ่นเพื่อวิเคราะห์
ลี้น : ใช้ในการตวัดอาหารหรือนั้าเข้าสู่ปากรวมถึงใช้ระบายความร้อนได้ด้วย ความ เคลื่อนไหวของลมที่พัดผ่านผิวลี้น (ระหว่างการหอบหายใจ) บวกกับการระเหยของนั้าลายจะช่วย ควบคุมอุณหภูมิในร่างกายสุนัข
พัน : สุนัขมีพันทั่งหมด 42 ซี่ประกอบด้วยพันตัดหกคู่ด้านหน้า กับเขี้ ยวขนาดใหญ่สองคู่ส่วนที่เหลือคือพันกรามและพันกรามน้อย
ลำตัว สุนัข
ขน : ดวงตาของสุนัขจะประกอบไปด้วยหนังตาสามส่วน คือ หนังตาบน หนังตาล่างและ หนังตาที่สามที่อยู่ตรงมุมด้านในของดวงตาซี่งหนังตานี้ไม่พบในมนุษย์จะทำหน้าที่เหมือน “ที่ปด นั้าฝน’,ในการกำจัดฝูนหรือเศษดินออกจากดวงตา
ช่องระบายของเสีย : มี ในช่องทวารหนักของสุนัขจะมีต่อมทวารหนักอยู่ 2 ต่อมเริยกว่าต่อม ข้างก้น (Anal Gland) ซํ่งซ่อนกลื่นฉุนรุนแรงเอาไว้และมีคุณสมปติเป็นกลื่นเฉพาะตัว เมื่อเวลาที่ สุนัขดมก้นกันนั่นหมายถึงพวกมันกำลังสำรวจต่อมทวารหนักของอีกฝ่าย เพื่อทำความรู้จักกันใน แต่ละตัว
อวัยวะสืบพันธุ : สุนัขเพศผู้จะเจริญพันธุเต็มที่เมื่ออายุประมาณ 10 – 16 เดือนโดยเฉลี่ย สุนัขเพศเมียจะเจริญพันธุเต็มที่เมื่ออายุประมาณ 9 เดือน ถึง 15 เดือน
อุ้งเท้า : ประสาทสัมผัสส่วนใหญ่ของสุนัขจะอยู่บริเวณนี้ ตังนั้นในทางสัตวแพทย์การทดสอบเพื่อประเมินการตอบสนองของสุนัขในขณะที่สุนัขไม่รู้สึกตัว หรือมีความผิดปกติ บริเวณเล้นประสาทเช่น การถูกรถชน รถเหยียบ สามารถตรวจสอบสภาวะการเป็นอัมพาตโดยใช้ เล็บหรือปากคีบ (Forceps) หนีบบริเวณหนังที่,เช่าเท้า เพื่อดูการตอบสนองโดยเราเริ ยกการทดสอบนี้ ว่าการตรวจการเจ็บขั้นสึก(Deep Pain)นอกจากนี้สุนัขสามารถขับเหงื่อทางฝ่าเท้าได้หาง : ใช้สำหรับถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้สึก ซํ่งผู้เลี้ยงสามารถสังเกตความต้องการของ สุนัขโดยดูจากการแกว่งหาง
นม : มีนั้งในสุนัขตัวเมียและตัวผู้ ในสุนัขเพศเมียเต้านมมีไว้สำหรับการสร้างนํ้านมเพื่อเลี้ยงลูก
นั้าหนัก : สุนัขมีนั้าหนักแตกต่างกันไปตั้งแต่ 1 กิโลกรัม ถึงมากกว่า 100 กิโลกรัม โดยทั่วไปสุนัขตัวผู้จะมีนั้าหนักมากกว่าตัวเมีย ประมาณ 10 %
ส่วนสูง : ขึ้นอยู่กับแต่ละสายพันธุ พบว่าในสุนัขเพศผู้จะมีโค รงร่างสูงใหญ่กว่าสุนัขเพศ เมียในสายพันธุเดียวกัน
การพัฒนาพฤติกรรมของสุนัข
การพัฒนาพฤติกรรมของสุนัขสามารถแบ่งออกได้เป็น 4 ช่วง โดยในแต่ละช่วงมีความสำคัญทำให้เราทราบถึงพัฒนาการด้านพฤติกรรมของสุนัข ได้แก่ ช่วงแรกเกิด ช่วงอายุ3-12 สัปดาห์ ช่วงวัยรุ่น ช่วงวัยเจริญเติบโตเต็มที่ และช่วงวัยชรา ดังนี้
1) ช่วงแรกเกิด
ลูกสุนัขที่เพิ่งเกิดใหม่นั้นจะยังไม่สามารถมองเห็น ได้ยินและไม่สามารถเดินได้ ตาและหู ของลูกสุนัขจะเริ่มใช้งานได้เมื่ออายุ ประมาณ 10-16 วัน เป็นด้นไป แต่อย่างไรก็ดีประสาทสัมผัส เรื่องการรับกลิ่นนั้นมีการเจริญขึ้นอย่างสมบูรณ์แล้ว ลูกสุนัขจึงมีสัญชาติญาณในการหันเข้าไปหา หัวนมของแม่สุนัขเพื่อดูดนม ในนํ้านมของแม่สุนัขนั้นมีสารอาหารเพียงพอต่อความต้องการของ ลูกสุนัขโดยเฉพาะ ในช่วงอายุ 3 สัปดาห์แรก ลูกสุนัขแรกเกิดนั้นไม่สามารถควบคุมอุณหภูมิได้ ดังนั้นจึงพยายามนอนชิดคัน และเราอาจช่วยโดยการกกไฟเพื่อเพิ่มความอบอุ่นแก่ลูกสุนัขได้ลูก สุนัขในช่วงวัยนี้นักจะนอนมากกว่าสุนัขช่วงวัยอื่น เมื่ออายุ 6-10 วัน ลูกสุนัขสามารถใช้ขาหน้ารับ น้ำหนักและทรงตัวได้ และที่อายุ 12-14 วันลูกสุนัขสามารถยืนได้ด้วยขาทั้ง 4 ข้าง แต่เป็นการยืนที่ ยังไม่สมบูรณ์เนื่องจากการทรงตัวยังไม่ดี และหัวมักจะส่ายไปมาในระหว่างที่ลูกสุนัขเคลื่อนที่
2) ช่วงอายุ 3-12 สัปดาห์
เป็นช่วงที่มีความสำคัญในการพัฒนาหรือแกพฤติกรรมต่างๆ ลูกสุนัขมีความสามารถใน การเรียนรู้สิ่งต่างๆ ได้เร็วโดยเฉพาะในช่วงอายุ 9 สัปดาห์ เป็นช่วงที่สำคัญคับชีวิตลูกสุนัขมากที่สุด เพราะเป็นช่วงแห่งการเรียนรู้รู้ที่กำหนดพฤติกรรมต่างๆของลูกสุนัขเมื่อโตเต็มวัย โดยลูกสุนัขเรียนรู้รู้ และลื่อสารคับสิ่งแวดล้อมรอบตัว ซึ่งในช่วงนี้ลูกสุนัขจะเรียนรู้รู้เกี่ยวคับพี่น้อง แม่ มนุษย์สิ่งที่กิน ได้กินไม่ได้ พฤติกรรมทางเพศพฤติกรรมการเล่น การอยู่รวมคันเป็นฝูง การมีผู้’นำฝูง พฤติกรรม การส่า การย่างเท้าเข้าหาเหยื่อ พฤติกรรมการสำรวจเช่น การดม (ร1111ธ11ฐ) การตะกรุย (ห3^1112)
การขุด (01221112) การเคี้ยว (010^1112) การฉีก (1ธ3ฝ112) การคาบ (ห!(±1112 บันั) วัตถุหลายๆ อย่าง พฤติกรรมที่เกิดขึ้นจากตัวอย่างที่เป็นแบบ ซึ่งสิ่งเหล่านี้เป็นตัวกำหนดพฤติกรรมที่ถูกและไม่ลูก หรือพฤติกรรมที่เป็นปัญหา เช่น การคัดรองเท้า การวิ่งเห่ารถจักรยานยนต์หรือรถจักรยาน เป็นต้น ลูกสุนัขในช่วงนี้นอกจากจะพัฒนาด้านพฤติกรรมแล้ว ยังรวมถึงการพัฒนาอารมณ์ด้วย มีรายงานว่าลูกสุนัขที่หย่านมแม่เร็วเกินไป อาจทำให้มีพฤติกรรมก้าวร้าว หรือขาดการเรียนรู้รู้ทาง สังคมคับตัวอื่นๆ ทำให้เกิดพฤติกรรมไม่ปกติ เช่น การเห่ามากเกินไป การคัดทำลายข้าวของ ปัญหา การขับถ่ายอันเนื่องมาจากอารมณ์ และในลูกสุนัขที่หย่านมเร็วและติดเจ้าของมาก ทำให้ลูกสุนัขเกิด การหวาดระแวง ขี้ขลาด เข้าคับสุนัขตัวอื่นไม่ค่อยได้ ก้าวร้าวเพราะหวงเจ้าของ เข้าคับมนุษย์ได้ ดีกว่าคับสุนัขด้วยคัน นักแสดงพฤติกรรมทางเพศคับเจ้าของได้ (การขึ้นขี่) แต่อย่างไรก็ตามไม่ใช่ว่า ลูกสุนัขที่หย่านมเร็วเกินไปหรือติดเจ้าของมากเกินไปต้องมีพฤติกรรมที่ผิดปกติอย่างนี้ มักพบเป็น เพียงบางส่วนเท่านั้น
3) ช่วงวัยรุ่น
ช่วงนี้เป็นช่วงที่ลูกสุนัขกำลังเจริญเติบโต มีลักษณะรูปร่างกล้ามเนื้อและพฤติกรรม เหมือนสุนัขที่โตเต็มวัย เริ่มแสดงพฤติกรรมทางเพศไต้โดยพบที่อายุ 4-6 เดือนไต้ลูกสุนัขจะแสดง ความสนใจต่อสุนัขที่เป็นลัด (Estrous Bitch)และความสนใจทางเพศจะเพิ่มมากขึ้นจนถึงอายุ 2 ปี ซึ่งเป็นช่วงที่สุนัขเจริญเติบโตเต็มที่ แม้จะถือว่าลูกสุนัขเจริญเติบโตเต็มที่เมื่อเข้าสู่ช่วงเจริญพันธุ (Puberty)แต่สุนัขส่วนใหญ่ยังไม่เจริญเติบโตเต็มที่ จนกว่าอายุ 18 เดือนขึ้นไป การกินและการรับ รสของสุนัข สุนัขไม่สามารถรับรสได้แต่อาศัยดมกลิ่น สุนัขต้องใช้ลิ้นแตะอาหาร 1 วินาที เพื่อให้รู้ รสอาหาร ฟันน้ำนมของสุนัขจะเกิดเมื่ออายุ 20 วัน และขึ้นครบใน 6 สัปดาห์ หลังจากนั้น 3 เดือน ก็จะเริ่มหลุดและพันแท้ก็จะงอกแทน สุนัขมีฟันน้ำนม 28 ซี่ พันแท้42 ซี่
4) ช่วงวัยเจริญเติบโตเต็มที่
เป็นช่วงที่สุนัขมีการพัฒนาโครงร่างของร่างกายสมบูรณ์ที่สุด มีพละกำลังสมบูรณ์ที่สุด อาจพบว่าสุนัขบางตัวดื้อมาก ชอบวิ่งขุดคุ้ยสิ่งต่างๆ หรือชอบทำกิจกรรมต่างๆ มากกว่าการนอน และเป็นช่วงที่แสดงออกถึงภาวะ การแสดงเพศอย่างเด่นชัด โดยตัวผู้จะสนใจสุนัขเพศเมียที่เป็นสัตว์ มีการต่อสู้แข่งขันกับสุนัขเพศผู้ตัวอื่นเพื่อให้ได้ผสมพันธุกับสุนัขเพศเมีย มีการสร้างหรือกำหนด อาณาเขตของตัวเอง ในสุนัขเพศผู้ที่มีฮอร์โมนเพศผู้มาก (Testosterone Hormone) มักจะดุร้ายโดยเฉพาะในช่วงการผสมพันธุ หรือการประกาศอาณาเขต มักพบพฤติกรรมและการแสดงออก ตังนี้
- การมองเห็น
การมองเห็นสีของสัตว์ลูกควบคุมโดยเซลล์รูป (Cone Cell)จากการศึกษา พบว่าสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมส่วนใหญ่สามารถมองเห็นสีได้แต่เนื่องจากปริมาณและชนิดของเซลล์ รูปกรวยนั้นมีน้อยกว่ามนุษย์มาก จึงสามารถมองเห็นสีได้แต่ไม่สามารถแยกได้ว่าเป็นสีใด ต่างจาก มนุษย์ซี่งมีเซลล์รูปกรวย 3 ชนิด คือแดง เขียว และนั้าเงิน ทำให้มนุษย์เห็นสีได้หลากหลายกว่าสัตว์ สุนัขสามารถมองเห็นสีคือ สีนั้าเงินและสีเหลือง เนื่องจากในตาของสุนัขมีเซลล์รูปกรวยที่ทำงาน ได้ดี 2 ชนิดคือ ชนิดแรกเซลล์ที่ไวต่อแสงในช่วง 429 ถึง 435 นาโนเมตร หรือช่วงสีม่วงและ สีนั้าเงิน และชนิดที่สองเซลล์ที่ไวต่อแสงในช่วง 555 นาโนเมตรหรือช่วงสีเขียวเหลือง แต่สุนัขไม่มี เซลล์รูปกรวยชนิดสีเขี ยว นั่นคือสุนัขไม่สามารถแยกสีแดงและเขียวออกจากกันได้ แปลว่าสุนัข เป็นสัตว์ตาบอดสีแดงเขียวคล้ายกับมนุษย์ (Deuteranopia) สรุปก็คือสุนัขไม่สามารถแยกสีเขียว สีเขียวเหลือง สีเหลือง สีล้มหรือสีแดงที่ มองเห็นได้แต่จะเห็นสีเป็นสองกลุ่มใหญ่ๆเท่านั้นโดยจะเห็นสีม่วงและม่วงนํ้าเงินเป็นสีนํ้าเงิน และเห็นสีเขียวเหลือง เหลืองและแดงเป็นสีเหลือง สุนัขสามารถมองเห็นได้เป็นมุมกว้างกว่ามนุษย์เนื่องจากตาของสุนัขจะอยู่ค่อนไปทางด้านข้างของหัว ทำให้เห็นภาพในมุมกว้างกว่า ดังนั้นสุนัขจึงตอบสนองต่อการเคลื่อนไหวได้รวดเร็วและ มองเห็น ในที่มืดได้ดีกว่ามนุษย์เพราะเซลล์บริเวณจอตาซํ่งเป็นที่รวมแสง สุนัขเป็นสัตว์ที่ใช้ชีวิตกลางคืน แม้แสงไฟเล็กน้อยก็สามารถมองเห็นได้การ
- ดมกลน
เป็นการลื่อสารอย่างหนื่งที่สุนัขใช้กันมาก สุนัขจะกำหนดเขตแดนของตนโดย การป็สสาวะบ่อยๆ และการเกาหรือขีดข่วนพื้นเพื่อที้งกลึ๋นเหงื่อจากต่อมเหงื่อที่อุ้งเท้า นอกจากนี้ สุนัขยังชอบกลี้งตัวไปตามพื้นเพื่อที้งกลึ๋นดัวเองไว้โดยเป็นการประกาศอาณาเขต การใช้จมูกดม ตามพื้นหมายถึง การหาที่ขับถ่าย ส่วนการเอาจมูกแตะกันหมายถึง การที่สุนัขทำความรู้จักกัน เป็น การหยั่งเชิงซํ่งกันและกัน สุนัขสองตัวไม่เคยพบกันมาก่อน แล้วเมื่อมาเจอกันสึ๋งแรกที่จะแสดงออก ล้าไม่เห่าก็คือการวึ๋งเข้าหากันโดยเอาจมูกมาแตะกัน การเอาจมูกแตะกันนี้เป็นพฤติกรรมทดสอบ ฝ่ายตรงข้ามเบื้องด้นว่ามาอย่างเป็นมิตรหรือศัตรู จากนั้นจะผลัดกันดม เพื่อเพึ๋มความคุ้นเคยและ เป็นการจดจำกลิ่นซํ่งกันและกัน ถึงขั้นดมกลึ๋นนี้ถือว่าสุนัขนั้งสองตัวเริยนรู้ได้ว่าเป็นมิตรหรือศัตรู ล้าเป็นศัตรูกันก็อาจเดินหนี สุนัขทุกชนิดมีความสามารถในการดมกลิ่นแต่บางสายพันธุมีประสาท การดมกลิ่นพัฒนาไปมากกว่าสุนัขทั่วไป เช่น พันธุ บสัดฮาวน์ด นอกจากใช้จมูกดมกลิ่นแล้วยังมี เซลล์พิเศษในปากเพื่อรับกลิ่นด้วย สุนัขสามารถจำกลิ่นได้เป็นเวลานานและดมกลิ่นเลือดที่หยดลง ในนั้า 7.5 ลิตร และสามารถตามรอยเหงื่อจากรอยเท้าที่ทิ้งไว้เมื่อ 20 ชั่วโมง ได้ ในจมูกสุนัขมีต่อม รับกลิ่นมากกว่ามนุษย์หลายล้านเท่า เช่น มนุษย์มี 5 ล้านต่อม เยอรมันเชพเพิร์ดมีถึง 2100 ล้านต่อม
- การได้ยิน
โดยทั่วไปสุนัขจะมีประสาทรับเสียงที่ไวมากสามารถได้ยินเสียงคลื่นความถี่สูง กว่าที่มนุษย์ได้ยินจึงช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการล่าเหยื่อและการลื่อสารกับสุนัขอื่น ตังนั้นจึงมี
การแกสุนัขให้ช่วยนำทางคนตาบอด โดยนักวิทยาศาสตร์ทดลองเอาลูกแก้วเล็กๆ ยกจากพื้นสูง 3 เซนติเมตร สุนัขยืนห่างออกไป 24 เมตร สุนัขสามารถได้ยิน สุนัขรู้ที่มาของเสียงได้แม่นยำกว่า มนุษย์สุนัขสามารถจับจังหวะเสียงเดินของเจ้าของได้ รวมถึงได้ยินเสียงความถี่ ตากว่า 20 เมกะเฮิรตซ์ และมากกว่า 20,000 เมกาเฮิรตซ์ ซํ่งเป็นความถี่ที่มนุษย์ไม่สามารถได้ยิน
- การเห่า
เป็นพฤติกรรมปกติของสุนัข สุนัขจะเห่ามากหรือน้อยขึ้นอยู่กับกรรมพันธุ สุนัข จะเริ่มเห่าที่อายุประมาณ 2-3 เดือน การเห่าของสุนัขอาจเป็นการแสดงความตื่นตัว หรือเป็นการ ข่มขู่ผู้ที่เข้ามาในเขตครอบครองของสุนัข หรือเป็นอาการแสดงความยินดี เป็นการลื่อสารของสุนัข
กับสิ่งอื่น หรือเพื่อเชิญชวนให้มาร่วมเล่นด้วย หรือเกิดเนื่องจากสุนัขมีความสุขได้ ซํ่งทุกครั้งที่เห่า แสดงว่าเกิดความแปลกหรือความผิดปกติขึ้น เช่น เสียงดังเข้าประสาทหูมัน กลิ่นแปลกจากสัตว์อื่น ซํ่งเป็นสิ่งที่ช่วยเตือนภัยให้เจ้าของบ้านด้วย
- การเล่น
โดยธรรมชาติสุนัขเป็นสัตว์สังคมและอยู่รวมกันได้ดี เนื่องจากมีการจัดลำดับฐานะความสำคัญในกลุ่ม สุนัขที่เลี้ยงไว้เป็นเพื่อนมักจะแสดงกิริยาต้อนรับโดยการแกว่งหางและ อ้าปากเล็กน้อยเมื่อสมาชิกในครอบครัวกลับเข้าบ้าน
- การติดต่อสื่อสาร
สุนัขป่าจะสื่อสารกันด้วยการหอนซํ่งวิธีนี้ได้ถ่ายทอดและพัฒนาขึ้นมากในกลุ่ม สุนัขเลี้ยงทางซีกโลกเหนือหรือสุนัข ล่าเนื้อที่จะเห่าหอนในขณะตามเหยื่อ ซํ่งเป็นประโยชน์อย่าง มากต่อนายพราน การแสดงออกส่วนใหญ่ใช้หาง สุนัขไม่ชอบให้ใครจับโดนหางหรือหู สุนัขจะใช้ หางเมื่อเวลาว่ายนํ้าเหมือนเป็นหางเสือเรือ ใช้หางเพื่อทรงตัวขณะเปลี่ยนทิศทาง กะทันหัน สุนัข พันธุบ๊อกเซอร์หรือเทอร์เรยร์จะถูกดัดหางหลังเกิด 4-5 วัน เพื่อให้เหมาะสมในการออกล่าสัตว์ หางจะแสดงอารมณ์ต่างๆ เช่น กระติกหาง หมายถึงการแสดงความรักและดีใจ หางตั้งขึ้นหมายถึง การสงสัยอะไรบางอย่าง หางจุกตูด หมายถึง การแสดงความกลัวหรือยอมแพ้เป็นด้น
- การประกาศอาณาเขต
ในสุนัขเพศผู้ การฉี่ทิ้งร่องรอยไว้เป็นสิ่งสำคัญมาก เป็นการแสดงถึงอาณาเขต ที่คุมอยู่ (เจ้าถิ่น) โดยจะยกขาขึ้นฉี่ที่ละเล็กน้อย จะไม่ฉี่รวดเดียวเสร็จเพียงเพื่อทิ้งร่องรอยไว้เท่านั้น หากมีสุนัขอีกคัวมาดมแล้วก็ฉี่ทับก็แสดงว่าสุนัขที่ฉี่ทับนั้นประกาศสงครามกับเจ้าของรอยฉี่ เติม แต่ในสุนัขเพศเมียแล้วจะฉี่รวดเดียวหมดไม่ค่อยมีการฉี่ทิ้งร่องรอยแบบในเพศผู้ เว้นแต่ช่วงที่1ป็นสัดอยากผสมพันธุ สุนัขเพศเมียจะฉี่ทิ้งร่องรอยเพื่อรอดัวผู้มาให้ เสือกคู่ การที่สุนัขยกขาช้าง หนื่งเวลาฉี่นั้น เป็นเรื่องที่คนไม่ควรเช้าไปแก้ไขเพราะนั่นคือธรรมชาติของสุนัข
- การยกขา
สุนัขที่ยกขาหน้าขึ้นเป็นการแสดงเมื่อต้องการสิ่งใดสิ่งหนื่ง เชื่อว่าพฤติกรรมนี้สืบเนื่องมาจากขณะที่เป็นลูกสุนัขแรกเกิด เนื่องจากเวลาดูดนมจากเด้านมของแม่ ลูกจะใช้เท้าพลิก หรือดันหัวนมแม่เป็นจังหวะ เป็นการกระตุ้นให้มีนั้านมไหล คือ ยังต้องการจะกินนมแม่อีก เมื่อโต ขึ้นจึงมีพฤติกรรมเติมหลงเหลือมาแสดงกับคน
- การขุดและการกลบ
พฤติกรรมการฝังกระลูกเป็นสัญชาติญาณของบรรพบุรุ ษของสุนัขเช่นกัน ซํ่งเป็นสัญชาติญาณของความอยู่รอดของสัตว์ป่า โดยการถนอมอาหารเพื่อที่จะเล็บอาหารไว้กินยามขาดแคลน ถึงแม้ว่าสุนัขที่เลี้ยงในบ้านไม่ได้ขาดแคลนอาหาร แต่ก็ไม่สามารถที่จะทิ้งนิสัยเดิมได้ไม่เพียงแต่ฝังเศษอาหาร สุนัขบางตัวสามารถจดจำสถานที่ฝังได้อย่างแม่นยำแต่บางตัวก็ลืมสมบัติ ที่ฝังไว้ สุนัขที่มีนิสัยชอบขุดหรือขีดข่วนบนพื้นแข็งพื้นห้องแสดงถึงความกระดือรือร้นที่จะสร้าง ที่นอนอันสบายให้ตัวเอง ซํ่งพฤติกรรมนี้สามารถพบเห็นได้จากการที่สุนัขชอบไปนอนในตะกร้า หรือสุนัขที่มีที่นอนเฉพาะ และสิ่งแรกที่ทำก็คือการขีดข่วนเพื่อเป็นการจัดที่นอน พฤติกรรมนี้เมื่อ ย้อนไปในอดีต เป็นสัญชาติญาณเพื่อความอยู่รอด
- การเลีย
สุนัขจะแสดงความรักต่อเจ้าของได้โดยการเลียหรือที่เราเรืยกว่า “เลียประจบ ” สุนัขอาจจะเลียแข้งเลียขาไปจนถึงเลียหน้าเจ้าของ ลือว่าเป็นการเลียเพื่อแสดงความรัก ความเป็น มิตรกัน เป็นสัญชาติญาณจากบรรพบุรุษของสุนัขทุกตัวนั่นเอง
- การกัดและไล่ล่า
สุนัขเป็นสัตว์ที่ไวต่อสิ่งเร้ามากกว่าคนถึง 10 เท่า การตอบสนองต่อการเคลื่อนไหวจึงเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว หากสุนัขถูกเลี้ยงดูอย่างไม่ค่อยเอาใจใส่ดีนัก เช่น ลูกดีบ่อยๆ หรือเจ้าของขังไว้ในกรงบ่อยและนานๆ บางคนชอบเตะสุนัข ถ้าหากสุนัขตัวใดเจอสภาวะเหล่านี้ บ่อยเข้า ก็จะแสดงอาการต่อต้านเจ้าของและต่อต้านบุคคลอื่น สุนัขตั วอื่นหรือสัตว์อื่นๆ ได้เสมอ ทำให้ควบคุมสุนัขได้ยากขึ้น การเดินเข้าหาสุนัขที่ก้าวร้าวจะต้องเดินเอาข้างของลำตัวเข้าหา ถ้าเอา ด้านหน้าหรือเดินเข้าไปตรงๆ สุนัขจะเข้าใจว่าไปท้าทาย จากนั้นก็เอาแขนอื่นออกไปข้างหน้าเพื่อ หันความสนใจของสุนัขออกจากตัวและขาของเราด้วย ลำหรับสุนัขที่ชอบวิ่งไล่คน หรือวิ่งไล่ รถจักรยาน หรือคนชอบวิ่งหนีสุนัขนั้น เป็นการจุดชนวนให้สุนัขวิ่งไล่ขึ้นไปอีก การที่สุนัขวิ่งไล่ นั้นเพียงแค’อยากจะหยุดเราชั่วครู่เท่านั้น เพราะตามสัญชาติญาณเมื่อฝ่าเท้าลูกกระตุ้นให้วิ่ง ย่อม หมายถึงว่าจะต้องมีการล่าเกิดขึ้น แต่จะประสบผลสำเร็จหรือไม่นั้นเป็นอีกเรื่องหนํ่ง 3.2.5 ช่วงวัยชรา สุนัขเข้าสู่วัยชราเมื่ออายุประมาณ 8 ปีขึ้นไป ขึ้นอยู่กับสายพันธุ ช่วงนี้เป็นช่วงที่สุนัข มีระบบการเผาพลาญพลังงานลดลง สะสมไขมันมากขึ้ น มีความคล่องตัวลดลง ในสุนัขบางตัวอาจ พบว่าการทำกิจกรรมต่างๆ ลดลง เอาแต่นอน สุนัขในช่วงวัยนี้เจ้าของอาจสังเกตความผิดปกติที่อาจ เกิดขึ้นกับสุนัขได้ยาก เนื่องจากว่าสุนัขมีการลดกิจกรรมลง การกินลดลง และในสุนัขที่อายุมาก อาจพบโรคสมองเลื่อมในสุนัขได้ ซํ่งโรคนี้ทำ ให้เกิดการสูญเลียความทรงจำและอาการสับสนใน สุนัขสูงอายุ อาการที่พบคือ จะมีอาการสับสน ลดการปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น เห่าโดยไม่มีสาเหตุ นอน ไม่หลับ หรือนอนมากขึ้นในช่วงกลางวัน ตื่นตอนดึก หลงทางในบ้านตัวเอง และขับถ่ายเลอะเทอะ ซํ่งการขับถ่ายเลอะเทอะในสุนัขสูงวัย อาจมาจากการหลงลืม หรืออาจมีป็ญหาด้านสุขภาพอื่นๆ ได้
สรุปพฤติกรรมและการสื่อสารของสุนัข
พฤติกรรมสุนัข | การสื่อสาร |
กระติกหาง | แสดงความรัก และดีใจ |
หางตั้งขึ้น | สงสัยอะไรบางอย่าง |
หางจุกตูด | แสดงความกลัว หรือยอมแพ้ |
เอาจมูกแตะกัน | สุนัขทำความรู้จักกัน เป็นการหยั่งเชิงซํ่งกันและกัน |
นอนหงาย | แสดงการยอมแพ้เพื่อจะไต้ไม่ถูกทำร้าย |
การฉี่ | ประกาศอาณาเขตที่อยู่ |
การเดินวนไปมา | เป็นการจับจองบริเวณ แสดงความเป็นเจ้าถึ๋น |
การเลีย และเคล้าเคลีย | แสดงความรัก และเป็นมิตร |
การใช้จมูกดมตามพื้น | หาที่ขับถ่าย |
การเห่า | แสดงอาการระวังภัย |
การทำลายสิ่งของ หรือร้องครวญคราง | เริยกร้องความสนใจ อาจเกิดจากการลูกทอดทิ้ง |

บริการฝึกและฝากเลี้ยงสุนัขทุกสายพันธ์แก้ไขพฤติกรรมทุกพฤติกรรมตามที่เจ้าของต้องการ
ด้วย 2 ใบประกาศหลักสูตรครูฝึกสุนัขตำรวจและวิทยากรระดับนานาชาติเกี่ยวกับหัวข้อพฤติกรรมของมนุษย์กับสุนัข รวมทั้งให้ความรู้ในคอลัมนิสต์ประจำนิตยสารสัตว์เลี้ยงชั้นแนวหน้าหลายฉบับอาทิ สื่อรักสัตว์เลี้ยง,แหล่งสัตว์เลี้ยงและช่วยเหลือสุนัขในโครงการฝึกสุนัขไร้บ้านให้มีบ้านอยู่
บริการฝึกและฝากเลี้ยงสุนัขทุกสายพันธ์แก้ไขพฤติกรรมทุกพฤติกรรมตามที่เจ้าของต้องการ